หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๓)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนและคณะนักวิจัยได้ไปปฏิบัติศาสนกิจล่าสุดที่เมืองลั่วหยาง ณ วัดม้าขาว วัดแห่งแรกในแผ่นดินจีน แล้วเดินทางต่อไปที่เมืองซีอาน (ฉางอาน) มณฑลส่านซี แม้เป็นช่วงค่ำมืด ก็ได้รับน้ำใจจากกัลยาณมิตรที่เคยพบกันเมื่อครั้งที่ประเทศจีนรับเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมขององค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก ครั้งที่ ๒๗ (๑๔-๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๗) ที่วัดฝ่าเหมินซื่อ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตมณฑลเดียวกัน
มติ มส.อนุมัติการปฏิบัติศาสนกิจในต่างประเทศ
มหาเถรสมาคม สรุปการประชุมมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๕/๒๕๕๓ เมื่อวันจันทร์ ที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๓ ถึงเรื่องการอนุมัติเกี่ยวกับการปฏิบัติศาสนกิจในต่างประเทศ ดังนี้
เพราะเหตุใดจึงไม่สามารถคลอดลูกแบบธรรมชาติได้
เพราะเหตุใดลูกจึงไม่สามารถคลอดแบบธรรมชาติได้ ต้องถูกผ่าท้องคลอดลูกทั้ง ๓ คน และยังต้องถูกผ่าตัดแก้หมันอีก ๑ ครั้ง เพราะกรรมใดคะ
มนุษย์ในอุตตรกุรุทวีป
มนุษย์ชาวชมพูทวีป ย่อมประเสริฐกว่ามนุษย์ชาวอุตตรกุรุทวีปและทวยเทพชั้นดาวดึงส์ด้วยฐานะ ๓ อย่างคือ เป็นผู้มีความองอาจกล้าหาญ เป็นผู้มีสติ และเป็นผู้สามารถประพฤติพรหมจรรย์ได้บริสุทธิ์ในพระพุทธศาสนา
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๓)
ชีวิตหลังความตายยังเป็นความมืดมนสำหรับมนุษย์ทั้งหลาย เพราะยังไม่ได้รู้แจ้งในโลกทั้งปวง มนุษย์มากมายต่างก็ปรารถนาจะไปสวรรค์ เพราะรู้ว่าสวรรค์เป็นดินแดนแห่งการเสวยสุข
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๓ (สนังกุมารพรหม)
ชาวโลกนี้ เป็นผู้มืดบอด มีน้อยคนที่เห็นแจ้งในโลกนี้ น้อยคนที่จะไปสู่สุคติโลกสวรรค์ เหมือนนกน้อยตัวที่รอดพ้นจากตาข่ายมีน้อยฉันนั้น
การเดินทางไปสู่ปรโลก
คนส่วนใหญ่อาจจะไม่เข้าใจว่า เมื่อคนใกล้ตาย โดยทั่วไปจะมีลักษณะอารมณ์ ๓ อย่างเกิดขึ้น ปรากฏเป็นอารมณ์ของปฏิสนธิจิตที่จะชักนำให้ไปเกิดในภพภูมิต่าง ๆ
มงคลที่ ๓๒ ประพฤติพรหมจรรย์ - บัณฑิตต้องอบรมตน
สมัยหนึ่ง พระราชาตรัสถามว่า "ท่านรัฐบาลผู้เจริญ คนส่วนใหญ่ออกบวชเพราะว่าแก่ชรา อยากมีที่พึ่งทางใจ เพราะความเจ็บไข้ได้ป่วยบ้าง เพราะเสื่อมจากโภคสมบัติบ้าง จึงอยากมาอาศัยพระศาสนา และเสื่อมจากญาติบ้าง เมื่อเห็นว่าจะไม่มีที่พึ่ง จึงพากันออกบวช แต่ท่านไม่ได้มีความเสื่อมเหล่านั้นเลย แล้วทำไมถึงออกบวชเป็นบรรพชิตเล่า"
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๙ ( ชูชกขอโอรสธิดา )
บุคคลไม่อาจให้สิ่ง ๓ อย่างเต็มได้ คือ ไฟเต็มด้วยเชื้อ มหาสมุทรเต็มด้วยน้ำ คนมีความอยากมากเต็มด้วยปัจจัย
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๘)
จากฉบับที่แล้ว ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกถึงประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาที่สำคัญที่สุดช่วงหนึ่งของประเทศไทย นั่นก็คือพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ในยุคต้นรัตนโกสินทร์ คือ รัชกาลที่ ๑ ที่...